วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

สำนวนไทย-อังกฤษเช่น กันไว้ดีกว่าแก้ = Prevention is better than cure.

กระโหลกบางตายช้า กระโหลกหนาตายก่อน = [derived from a Thai film with the same name] The dull die fast; the smart die slow.

ก่อแล้วต้องสาน = Never do things by halves.

กันไว้ดีกว่าแก้ = Prevention is better than cure.

กาเข้าฝูงกา หงส์เข้าฝูงหงส์ = Birds of a feather flock together.

กิ้งก่าได้ทอง = Set a beggar on horseback and he'll ride to the devil.

กินน้ำใต้ศอก = Play second fiddle. To have to be satisfied with the crumbs from a rich man's table.

กินน้ำเผื่อแล้ง = Keep something for a rainy day.

กินปูนร้อนท้อง = Conscience does make cowards of us all.

เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน = Take care of the pence, and the pounds will take care of themselves.

แกงจืดจึงรู้คุณเกลือ = We only appreciate the worth of salt when the soup is tasteless. You never miss the water till the well runs dry. The worth of a thing is best known by the want of it, or, as Madonna sang in her song One More Chance: "You don't know what you've got till it's gone."

ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง = Fine feathers make fine birds. The tailor makes the man.

ไกลตา ไกลใจ = Long absent, soon forgotten. Out of sight, out of mind.
ขยันเหมือนมด = As diligent as an ant.

ขว้างงูไม่พ้นคอ (also: Warning: Vulgarity Alert! ขว้างงูไม่พ้นคอ ขว้างกระดอไม่พ้นเอว) = A bad penny always comes back.

ขวานผ่าซาก = Call a spade a spade.

ของสูงแม้ปองต้องจิต (หาก)มิคิดปีนป่ายจะได้หรือ = Nothing ventured, nothing gained.

ข้างนอกขรุขระ ข้างในต๊ะติ๊งโหน่ง = All are not thieves that dogs bark at. Appearances are deceptive. Never judge by appearances.

ข้างนอกสุกใส ข้างในเป็นโพรง = All that glitters is not gold. Appearances are deceptive.

ขี่ช้างจับตั๊กแตน = Burn your house to frighten away the mice.

ขี้ใหม่หมาหอม = A new broom sweeps clean.

เข้าฝูงหงส์ก็เป็นหงส์ เข้าฝูงกาก็เป็นกา = Who that keeps the company with the wolf will learn to howl.

เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม = When in Rome do as the Romans do.

เข้าหูซ้ายทะลุหูขวา = To go into one ear and come out of the other.
คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย = Two heads are better than one.

คบคนพาล พาลพาไปหาผิด (คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล) = Keep not ill men company lest you increase the number.

คมในฝัก (Cf: เสือซ่อนเล็บ) = Hide you light under a bushel.

ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น = Where there's a will, there's a way.

ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ = Health is better than wealth.

ความรักเหมือนโรคา บันดาลตาให้มืดมน = Love is blind.

คิดแล้วจึงเจรจา (เกิดเป็นคนคิดเห็นจึงเจรจา*) = A word and a stone let go cannot be called back.

ใครดี ใครได้ = Finder's keeper; loser's weeper.
_________________________
* คำนี้ พึงอ่านออกเสียงให้สัมผัสสระกับ /เห็น/ ว่า /เจ็น-ระ-จา/ ไม่ใช่ /เจ-ระ-จา/.
งมเข็มในมหาสมุทร = Search for a needle in a haystack.

งานเลี้ยงต้องมีวันเลิกรา (also: ไม่มีงานเลี้ยงใดไม่มีวันเลิกรา) = All good things come to an end.
จงพากเพียรไปเถิดจักเกิดผล = Hard work pays.

จับได้คาหนังคาเขา = Catch someone red-handed; to be caught red-handed.

จากเรือนเหมือนนกจากรัง = East, west, home is best. There is no place like home.

เจ้าวัดไม่ดี หลวงชีสกปรก = Like master, like man.
ชักแม่น้ำทั้งห้า = To beat around the bush.

ชักหน้าไม่ถึึงหลัง = To make both ends meet.

ชั่วเจ็ดที ดีเจ็ดหน = Everything could have a silver lining. Every cloud has a silver lining. Life is not all beer and skittles. Laugh today and cry tomorrow.

ช้า ๆ ได้พร้าเล่มงาม = Haste makes waste. Rome was not built in a day.

ช้างตายทั้งตัว เอาใบบัวปิด(ไม่มิด) = What is done by night appears by day.

ช้างเผือกเกิดในป่า = A genuine is born, not made.

ช้างสาร งูเห่า ข้าเก่า เมียรัก อย่าได้ไว้ใจนัก = Never trust a sleeping dog, a swearing Jew, a praying, a prying drunkard, or a sweeping woman.

ชาติเสือ ไม่ทิ้งลาย = The leopard cannot change his spots.
(ไว้ลาย = to leave behind one's reputation, to stand on one's dignity)

ช้าเป็นการ นานเป็นคุณ = Haste makes waste.

ชุบมือเปิบ = One beats the bush, and another catches the birds. One man sows, and another reaps.

เชื้อไม่ทิ้งแถว = Like father, like son.
ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน = Honesty is the best policy.
ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ (also: ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ แต่ดูให้แน่ ต้องดูถึงแม่ยาย!) = Like mother, like daughter (like grandmother, too!!).

ดูตาม้าตาเรือ = Look before you leap (or the everyday version that goes: "Look where you are going[, f*@#ing moron!!!])"

ดูทิศทางลม = Look at the direction of the winds. Look before you leap.

ได้คืบจะเอาศอก ได้ศอกจะเอาวา = Give him an inch, and he'll take a yard.

ได้อย่าง เสียอย่าง = You can't make an omelet without breaking eggs.
ตนนั้นแลเป็นที่พึ่งแห่งตน = God helps those who help themselves.

ต้นร้ายปลายดี = All's well that ends well.

ตบมือข้างเดียวไม่ดัง = It takes two to make a quarrel.

ตบหัวแล้วลูบหลัง = A kiss after a kick!

ตักน้ำรดตอ = Talking to a brick wall.

ต่างกันเหมือนช้างกับยุง = Chalk and cheese.

ตาต่อตา ฟันต่อฟัน = An eye for an eye, and a tooth for a tooth.

ตามใจปาก ลำบากท้อง (Warning: Vulgarity Alert! ตามใจปาก ลำบากตูด or Warning: Vulgarity Alert! ตามใจปากก็มากหนี้ ตามใจหีก็มากควย) = Gluttony kills more than the sword.

ตายประชดป่าช้า = To cut off one's nose to spite one's face.

ตีวัวกระทบคราด = Beat the dog before the lion.

ตีเหล็กเมื่อแดง กินแกงเมื่อร้อน = Strike while the iron is hot. (Cf.: Carpe diem)

เตี้ยอย่าอุ้มค่อม (เตี้ยอุ้มค่อม) = Drown not thyself to save a drowning man.
ถอดเขี้ยวถอดเล็บ = Remove the fangs, remove the claws. [Of a person] to become tame.

ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น = Penny wise and pound foolish.

 
ทางสายกลางเป็นทางที่ดีที่สุด = Moderation in all things.

ทำคุณบูชาโทษ (โปรดสัตว์ได้บาป) = Give the clown your finger, and he will take your hand. Save a stranger from the sea, and he'll turn your enemy.

ทำงานตัวเป็นเกลียว = To work one's tail off.

ทำชั่วได้ชั่ว = Evil be to him who evil thinks.

ทำดีได้ดี = He that sows good seed shall reap good corn.

ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว = As you make your bed, so you must lie on it. As ye sow, so ye shall reap.

ที่แล้วมาก็แล้วกันไป = Forgive and forget. Let bygones be bygones. To err is human; to forgive, divine.

ทุบหม้อข้าว = To take the bread out of one's mouth.
นกน้อยทำรังแต่พอตัว = Cut your coat according to your cloth(es).

นานาจิตตัง = Everyone to his taste.

นารีงามสรรพเมื่อดับเทียน = All cats are grey in the dark.

น้ำกลิ้งบนใบบอน (also: น้ำกลิ้งบนใบบัว) = A rolling stone gathers no moss.

น้ำขึ้นให้รีบตัก = Gather ye rosebuds while ye may. Hoist your sail when the wind is fair. Make have while the sun shines. (Cf.: Carpe diem)

น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ = Better bend than break. It is ill striving against the stream. Don't try crossing the river if the current's strong.

น้ำน้อยย่อมแพ้ไฟ = "If you don't have a lot of water, don't try putting out a fire." Don't get into a conflict unless you've got plenty of power.

น้ำนิ่งไหลลึก = Still waters run deep.

น้ำมาปลากินมด น้ำลดมดกินปลา = When the water rises the fish eat the ants, when the water falls the ants eat the fish.

วันศุกร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

แบ่งปันแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วยสพฐ. สอศ. กทม.

                   แบ่งปันแนวข้อสอบครู หลักการสอนและการจัดการเรียนรู้                                                             แนวข้อสอบหลักการสอนและการจัดการเรียนรู้

คำชี้แจง ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงหนึ่งคำตอบในแต่ละข้อ
1           1. การพัฒนาสาระการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ได้บัญญัติใน พ... การศึกษาแห่งชาติ พ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2).2545 เรื่องใด
.ความมุ่งหมายการจัดการศึกษา                     ขกระบวนการจัดการเรียนรู้
หลักการจัดการศึกษา                                  งรูปแบบการจัดการศึกษา
     2. จากข้อ 1 กำหนดไว้ในมาตราใด
           กมาตรา                        . มาตรา 7
        มาตรา 8                                 งมาตรา 9
   3หลักการจัดการเรียนรู้ ได้บัญญัติในพ... การศึกษาแห่งชาติ พ.. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.2545มาตราใด
           กมาตตรา 22                    มาตรา  23
        มาตรา  24                     . มาตรา  25
  4. Pre-test มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
           กเพื่อตรวจสอบความรู้เบื้องต้นของผู้เรียน     ขเพื่อดูความก้าวหน้าของผู้เรียน
           คเพื่อดูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน     งเพื่อดูข้อบกพร่องของเรียน
 5. ข้อใดกล่าวเรื่องหลักการสอนไม่ถูกต้อง
           กสอนจากทฤษฎีไปหาตัวอย่าง                   ขสอนจากง่ายไปหายาก
           คสอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม              งสอนจากสิ่งใกล้ตัวไปหาไกลตัว
 6. บลูม Bloom)  ได้แบ่งพฤติกรรมผู้มีการศึกษาโดยคาดหวังไว้ 3  ลักษณะข้อใดไม่ใช่พฤติกรรมของผู้มีการศึกษาที่คาดหวังของบลูม
           กพุทธิพิสัย                                      ขจิตพิสัย
           คพัฒนพิสัย                                     งทักษะพิสัย
7. การสอนแบบนิรนัย (Deductive Method )มีลักษณะตามข้อใด
           กการสอนจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม
           ขการสอนจากส่วนรวมหาส่วนย่อย
           คการสอนให้นักเรียนค้นความด้วยตนเอง
           ง. การสอนแบบภาพรวม
8. การสอนแบบอุปนัย Inductive Method ) มีลักษณะตามข้อใด
           กการสอนจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม
           ขการสอนจากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย
           คการสอนให้นักเรียนค้นคว้าด้วยตนเอง
           งการสอนแบบร่วมมือ
9. ผู้คิดค้นวิธีการสอนแบบแก้ปัญหาคือผู้ใด
            กจอห์น  ดิวอี้                         ขเพียร์เจท์
            คธอร์นไดค์                            งสกินเนอร์
10. ขั้นตอนแรกของการสอนโดยวิธีการแก้ปัญหา
            กกำหนดขอบเขตของปัญหา (Location of  Problem )
            ข. ตั้งสมมุติฐาน ( Setting up of  Hyprothesis )
            ควิเคราะห์ข้อมูล ( Analysis  of Data )
            งศึกษาสภาพผู้เรียน ( Context )
11. สมุทัย ในวิธีการสอนแบบอริยสัจ ตรงกับวิธีการสอนแบบวิทยาศาสตร์ข้อใด
            ก.กำหนดปัญหาร                             ขตั้งสมมุติฐาน
            คทดลองและแก้ปัญหา                   งวิเคราะหืข้อมูล
12. นิโรธ ในวิธิการสอนของอริยสัจ 4 ตรงกับวิธีสอนวิทยาศาสตร์ข้อใด
            กกำหนดปัญหา                             ขตั้งสมมุติฐาน
            คทดลองและแก้ปัญหา                   งวิเคราะห์ข้อมูล
13. การวิเคราะห์ข้อมูล ตรงกับวิธีการสอนของอริยสัจ 4  ตามข้อใด
            กทุกข์              ขสมุหทัย             คนิโรธ         งมรรค
14. การจัดกิจกรรมการเรียนให้สอดคล้องกับการทำงานของสมองคือข้อใด
            ก4 MAT                          CIPPA  MODEL
            คSix Thinking                   . PBL
15. ข้อใดไม่ได้เป็นกิจกรรม 4  MAT
            กWhy              What                .Where          If
16. ผู้เรียนที่ถนัดใช้จินตนาการ ชอบถามว่าอย่างไร
            กWhy              What               Where          If
17. ผู้เรียนที่ถนัดการวิเคราะห์ ชอบถามว่าอย่างไร
            กWhy              What               .Where           . If
18. ผู้เรียนถนัดใช้สามัญสำนึก  ชอบถามว่าอย่างไร
            กWhy              What               .How               If
19. ผู้เรียนที่สนใจค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ชอบถามว่าอย่างไร
            กWhy            What             How               If
20. การอธิบายความเข้าใจจากการศึกษาด้วยตนเอง คือ ขั้นตอนใด
            กWhy             What            .How               If
เฉลย

1.    2.     3.    4.    5.   6.   7.     8. ก 9.  10.   11.  12.   13.   14.   15.    16.   17.    18    ค  19.       20. ข


จำหน่ายไฟล์เอกสารแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย สพฐ. สอศ.  กทม. ภาค ก และภาค ข ฉบับสมบูรณ์ ราคา  399  บาท
      รายละเอียด
       สรุป+แนวข้อสอบคลอบคลุมหลักสูตรการแข่งขันสอบบรรจุเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา  
         ภาคก  ความรอบรู้และความรู้ และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวความประพฤติและการปฎิบัติของวิชาชีพครู
        1.ความรอบรู้
1.1     สังคม  เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
1.2     นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
1.3     วัฒนธรรมไทยและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
1.4     กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติราชการ
1.4.1พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1.4.2พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ..2546และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1.4.3พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1.4.4พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.. 2547และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1.4.5พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.2546
1.4.6พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.2551                                                             
                          1.4.7 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุุงเทพมหานคร 2528 :  2550
                                1.4.8 พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร 2554
            2.ความสามารถทั่วไป          
                 2.1 ความสามารถด้านตัวเลข ความสามารถในการคิดเลข สรุปเหตุผลเกี่ยวกับตัวเลขและข้อมูลต่างๆ
              2.2 ความสามารถด้านภาษาไทย ความเข้าใจภาษา การอ่านจับใจความ การสรุปความ การตีความ การขยายความ การเรียงข้อความ การสะกดคำ การแต่งประโยคและคำศัพท์ 
             2.3 ความสามารถด้านเหตุผล การสรุปหาเหตุผลและอุปมาอุปไมย
               3 . ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติของวิชาชีพครู  
          3.1   วินัยและการรักษา
                  3.2   คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
                  3.3    มาตรฐานวิชาชีพ
                        3.4   จรรยาบรรณวิชาชีพ
                     3.5   สมรรถนะวิชาชีพ
      ภาค ข  ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง  
      1ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา ความรู้ในวิชาชีพครู
                 1.1  หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
                 1.2  หลักการสอนและการจัดการเรียนรู้
                 1.3  จิตวิทยาและการแนะแนว                                                                                                                                                                 1.4  การพัฒนาผู้เรียน
              1.5  การบริหารจัดการชั้นเรียน
                1.6  การวิจัยการศึกษา
               1.7  สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
                1.8  การวัดและประเมินผลการศึกษา 
            
                                                     เรียบเรียง โดย  ดร. ภักดี   รัตนมุขย์
เอกสาร เนื้อหา+แนวข้อสอบ จะเป็น zipไฟล์อิเล็กทรอนิกส์   ที่ใช้ในการเปิดไฟล์ เพราะมีเนื้อหาจำนวนมาก  สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์
สั่งซื้อ   สรุปเนื้อหา+แนวข้อสอบ แจ้งที่ อีเมล์  Dr.Pukdee-@hotmail.com , facebook.com/dr.pukdee
ชำระเงินผ่านบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์ ประเภทออมทรัพย์ สาขามหาสารคาม                        
เลขที่บัญชี  608-269894-8  ชื่อบัญชี นางสาวทักษพร  รัตนมุขย์ ชำระเงินแล้วโทร. แจ้ง 084-2616667,043-721822 หรือแจ้งทางอีเมล์อีกครั้งว่าโอนเงินแล้ว ระบุวันที่ เวลา ยอดเงินที่โอน




วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2558

แบ่งปันแนวข้อสอบครูผู้ช่วย สอศ.


แนวข้อสอบครูผู้ช่วย
วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณี
1. สิ่งที่ดีงามที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา เรียกว่า
. คุณธรรม
. จริยธรรม
. วัฒนธรรม
. ค่านิยม
2. ข้อใดคือวัฒนธรรมไทย
. การเคารพพระสงฆ์
. สงกรานต์
. ฮีตสิบสอง
. การไหลเรือไฟ
3. การกราบครั้งที่สองของการกราบแบบเบญจางค์
ประดิษฐ์ หมายถึงกราบใคร
. กราบเพื่อระลึกถึงองค์พระพุทธเจ้า
. กราบพระธรรมคำสั่งสอนพระพุทธเจ้า
. กราบพระสงฆ์ตัวแทนพระพุทธเจ้า
. กราบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
4. ข้อใดเป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง
. เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านให้ไหว้โดยให้ปลาย
นิ้วมือจรดตีนผม
. ผู้ชายให้ถวายของให้พระต่อมือพระสงฆ์
โดยตรงและคุกเข่ากราบไม่แบมือครั้งเดียว
. การตักบาตรควรถอดรองเท้าก่อน
. ผู้หญิงไปหาพระต้องนั่งพับเพียบให้เรียบ
ร้อย ไม่ควรอยู่ตามลำพังกับพระสงฆ์
5. เป็นครูควรมีมารยาททางใจ โดยนำหลักธรรม
พรหมวิหาร 4 มายึดและปฏิบัติ
. เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
. ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
. ทุกข์ สมุทัย นิโรจ มรรค์
. สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ
6. ข้อใดคือมารยาททางใจที่ถูกต้อง
. ในงานมงคลควรแสดงสีหน้าเบิกบาน
สดชื่นอยู่เสมอ
. การไปเยี่ยมคนป่วยควรใช้คำพูดที่อ่อน
โยนปลอบใจผู้ป่วย
. ในงานเผาศพควรแสดงกริยาสงบสงวน
ความรื่นเริงเอาไว้
. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดเป็นมารยาททางกายที่ไม่เหมาะสม
. ถ้านั่งต่อหน้าผู้ใหญ่กับพื้นให้นั่งพับ
เพียบ หันหน้าไปหาผู้ใหญ่ในลักษณะ
เงยหน้า
. ไม่ถือวิสาสะใช้หรือรับประทานของ
ที่เขาจัดไว้สำหรับผู้อื่นโดยเฉพาะ
. ล้วง แคะ แกะเกา หาว เรอหากจำเป็น
. เห็นของผู้ใหญ่ตก หรืออาจจะเสียหาย
โดยที่เจ้าตัวไม่รู้ควรจะบอก
8. การรับไหว้ในขณะที่ยืนและเราอยู่ในฐานะที่
อาวุโสกว่า
. พนมมือระดับอก
. พนมมือเหนือระดับอก นิ้วจรดคาง
. พนมมือระดับอก ก้มศรีษะเล็กน้อย
. พนมมือระดับอกและพยักหน้าเล็กน้อย
9. หากเราจะผ่านผู้คนมากๆและมีผู้ที่อาวุโสนั่งอยู่
กับพื้นควรใช้วิธีการใด
. เดินก้มหน้า
. เดินย่อตัว
. หมอบ
. คลาน
10. เมื่อใดควรยืนตรง
. เมื่อเห็นคนเชิญธงชาติผ่านหน้า
. เมื่อเห็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ
มาถึงบริเวณพิธี
. เมื่อได้ยินเสียงเพลงสรรเสริญพระบารมี
. ถูกทุกข้อ
11. ข้อใดคือมารยาทแบบสากลทางกายแสดงการ
ทักทาย
. การยิ้ม
. การไหว้
. การคำนับ
. การจับมือ
12. ข้อใดคือมารยาทในการรับประทานอาหารที่
ไม่ถูกต้อง
. ให้ผู้อาวุโสรับประทานก่อนเราจึงรับ
ประทาน
. ไม่ท้าวศอกบนโต๊ะอาหาร และนั่งตัวตรง
. แตะต้องหรือหยิบอาหารให้ผู้อาวุโสกว่า
ตามสมควร
. ควรถือช้อนด้วยมือขวาและส้อมด้วยมือซ้าย
13. มารยาทในการใช้วาจาที่ถูกต้องได้แก่ข้อใด
. ต้องระวังมิใช้วาจาเท็จ ยุยงส่อเสียดให้ผู้อื่นแตกร้าว
. ไม่พูดเสียงดังเกินไปหรือพูดพลางหัวเราะ
พลาง
. รู้จักพูดให้ผู้ฟังพอใจและเป็นนักฟังที่สนใจ
. ถูกทุกข้อ
14. ฮีตสิบสองจัดไว้ในข้อใด
. วัฒนธรรมไทย
. ประเพณี
. ความเชื่อ
. ค่านิยม
15. เทศกาลไหมและประเพณีผูกเสี่ยวเป็นประเพณี
ท้องถิ่นของจังหวัดใด
. กาฬสินธุ์
. มหาสารคาม
. ขอนแก่น
. อุดรธานี
16. ประเพณีไหลเรื่อไฟของจังหวัดนครพนม เป็น
ประเพณีที่เกิดจากความเชื่อของประเทศใด
. จีน
. อินเดีย
. เนปาล
. อียีป
17. ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้งของจังหวัดบุรีรัมย์
จัดในเดือนใด
. ธันวาคม
. มกราคม
. เมษายน
. กรกฏาคม
18. ประเพณีบวชลูกแก้วนิยมจัดในภาคใด
. ภาคเหนือ
. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
. ภาคกลาง
. ภาคใต้
19. ประเพณีท้องถิ่นที่นิยมจัดทุกภาคของไทย
. บวชนาค
. สงกรานต์
. ลอยกระทง
. ถูกทุกข้อ
20. หากจะรักษาประเพณีไทยโดยการทำบุญ ควร
ปฏิบัติตามข้อใด
. การให้ทาน
. การรักษาศีล
. ภาวนา
. ถูกทุกข้อ
21.ข้อใดต่อไปนี้ไม่เกี่ยวข้องกับประเพณีแต่งงาน
. ขึ้นหอ
. สู่ขวัญ
. ขันหมาก
. หมั้น
22.ไม้เท้ายอดทองกระบองยอดเพชรสัมพันธ์
กับประเพณีใด
. แต่งงาน
. บวช
. ลอยกระทง
. สงกรานต์
23. ประเพณีบายศรีสู่ขวัญมักพบอยู่ทุกจังหวัดทั้ง
ภาคเหนือและอีสาน คำว่า บายศรีหมายถึงสิ่งใด
. ดอกไม้
. พาน
. ข้าว
. ด้ายขาว
24. ความเชื่อตามประเพณีบุญป้องไฟสัมพันธ์กับ
อาชีพใด
. ค้าขาย
. ทำนา
. อุตสาหกรรม
. ทุกอาชีพที่กล่าว
25. ประเพณีผีตาโขนเป็นของจังหวัดใด
. ลำปาง
. พะเยา
. อุบลราชธานี
. เลย
26. “วันเนาของประเพณีสงกรานต์ตรงกับวันใด
. 12 เมษายน
. 13 เมษายน
. 14 เมษายน
. 15 เมษายน
27.เหล้า ต้นกล้วย ต้นอ้อย จัดอยู่ในส่วนใดของ
ประเพณีแต่งงาน
. ค่าดอง
. สู่ขวัญ
. ขันหมากเอก
. ขันหมากโท
28. ประเพณีชักพระหรือลากพระมักนิยมจัดใน
ภูมิภาคใด
. ภาคเหนือ
. ตะวันออกเฉียงเหนือ
. ภาคกลาง
. ภาคใต้
29. ประเพณีอุ้มน้ำดำพระเป็นของจังหวัดใด
. ตาก
. เพชรบูรณ์
. ปัตตานี
. นครศรีธรรมราช
30. ประเพณีท้องถิ่นต่อไปนี้ข้อใดต่างจากกลุ่ม
. สู่ข้าวขวัญ
. ก่อพระเจดีย์ทราย
. ทอดกฐิน
. บุญเบิกฟ้า      (ลองทำดูนะครับ พรุ่งนี้จะนำเฉลยมาให้ครับ)

กำหนดการและรายละเอียด การติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย สอศ.
ค่าใช้จ่ายในการติว 1,500 บาท สำรองที่นั่งละ 500 บาท (ส่วนที่เหลือจ่ายหน้างาน)
วันที่ 21-22 มีนาคม 2558 ภาคเหนือ(พิษณุโลก) วันที่ 28-29 มีนาคม 2558 ภาคกลาง(จังหวัดสมุทรสาคร) วันที่ 4-5 เมษายน 2558 ภาคใต้(จังหวัดประจวบคีรีขันธ์) วันที่ 18-19 เมษายน 2558 ภาคอีสาน(จังหวัดมหาสารคาม) กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ส่วนรายละเอียดสถานที่จะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง หมายเหตุ  จังหวัดใดมีคนต้องการติวครบ 30  คน สถาบันฯจะเดินทางไปติวให้เลยครับ                                                                                                                                           

 วิชาที่ติว..ภาค ก. การสอบความรอบรู้ ความถนัดและเจตคติต่อวิชาชีพครู ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติปฏิบัติวิชาชีพครู 

1. ความรอบรู้ 1.1 สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน 1.2 นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวกับการศึกษา 1.3 วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย 1.4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ - พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม - พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม - พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 - พรบ.ระเบียบข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม - พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 - พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.2551 - กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (กฎหมายการบริหารและจัดการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา) 2. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง 3. ความถนัดและเจตคติต่อวิชาชีพครู 4. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติ ปฏิบัติของวิชาชีพครู 4.1 วินัยและการรักษาวินัย 4.2 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม 4.3 มาตรฐานวิชาชีพ 4.4 จรรยาบรรณวิชาชีพ 4.5 สมรรถนะวิชาชีพฟรี! 1. เอกสาร 2. อาหารกลางวัน 3. อาหารว่าง วิทยากร สถาบันกวดวิชาและภาษาไดเอ็ด ดร.ภักดี รัตนมุขย์ อดีตรองผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคมหาสารคามและที่ปรึกษา ดร. ศตวรรษ สุขมากินโรจน์  ดร.มณฑิรา พิทักษ์วงศ์ศรและ ดร.ประดิษฐ์ ศรีอ้วน  สำรองที่นั่งโดยชำระผ่านบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์  ประเภทออมทรัพย์ สาขามหาสารคาม เลขที่บัญชี 608-269894-8 ชื่อบัญชีนางสาวทักษพร รัตนมุขย์ แจ้งชื่อ-สกุล ที่อยู่ และเบอร์โทร พร้อมรายละเอียดการโอนเงินไปที่ 1. Facebook:facebook.com/dr.pukdee 2. E-mail:Dr.Pukdee-@hotmail.com 3. โทร. 099-7207022, 043-721822, 084-2616667